ผศ.ดร.ฆริกา คันธา

อาจารย์ ดร.ฆริกา คันธา
ผศ.ดร.ฆริกา คันธา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตำแหน่ง:

  •  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำคณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  •  รองคณบดีฝ่ายบริหารและวางแผน

Work experiences

  •  Land evaluation for different land use planning in sub-watershed of Thailand and highland in northern Thailand
  •  Land use change analysis by SWAT Model
  •  Farmland zoning
  •  Waste management

 Topic of Interests

  1. GIS analysis and modeling for land use planning and farmland zoning
  2. Land evaluation
  3. Land use change in agricultural area
  4. Carbon management

 

Educations

Year

Degree

Institutes

2004 – 2009

Doctor of Sciences ETH-Zürich in Geographic Information System

ETH-Zürich (Swiss Federal of Technology, Zurich) Switzerland

2000 – 2001

Master of Sciences in Environmental Engineering and Sustainable Infrastructure

Royal Institute of Technology KTH, Stockholm, Sweden

1998 – 2000

Master of Sciences in Environmental Management

NIDA, Bangkok, Thailand

1993 – 1996

Bachelor of Engineering

(Civil Engineering)

 

Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand

ความสนใจและความเชี่ยวชาญ

  • ภูมิศาสตร์กายภาพ
  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • การประเมินคุณภาพที่ดิน
  • การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
  • การวางแผนการใช้ที่ดิน

 

ประสบการณ์การสอนและวิทยากร 

  • อาจารย์ประจำคณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
            หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต การจัดการสิ่งแวดล้อม
            หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการสิ่งแวดล้อม
            หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการความยั่งยืน
  • อาจารย์ประจำคณะการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย (2551-2552)
  • ผู้ร่วมปภิปราย “เครือข่าย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยดินแห่งเอเชีย (CESRA) หลักสำหรับการจัดการที่ดินอย่างยั่งยืน” โดย FAO กรมพัฒนาที่ดิน และ CESRA (ธันวาคม 2564)

ประสบการณ์บริการวิชาการ 

  • ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ โครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนเชิงนิเวศ เพื่อรองรับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยสำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิศาสตร์และภูมิสนเทศ โครงการศึกษาการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ สำหรับพื้นที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในภาคใต้ โดยกระทรวงพลังงาน

การฝึกอบรม

  • หลักสูตร Innovative Teaching Scholar Program – Thailand By Center of Professional Development, Stanford University, USA. (September 2020 – May 2021)
  • การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเชิงลึก “การคำนวณและรายงานคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร” โดย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) วันที่ 22 มีนาคม 2564.
  • การอบรม “นโยบายการลดก๊าซเรือนกระจก: โอกาส ความท้าทาย และวิธีการประเมิน” โดย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ร่วมกับ องค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) วันที่ 30 ตุลาคม 2563
  • การอบรม “Foresight Training: Learning to Design Your Future” โดย สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วันที่ 13 – 15 สิงหาคม 2563.

ผลงานวิชาการ

  • อรสุภาว์ สายเพชร และฆริกา คันธา. (2565). บทปริทัศน์ว่าด้วยนโยบายสาธารณะเพื่อการจัดการขยะอาหาร. Suranaree J. Soc. Sci., 17 (1), 1-18.
  • อธิญาพรรณ ศรีบุญขำ, ฆริกา คันธา และศันสนีย์ อรัญวาสน์. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของลุ่มน้ำสาขาลำโดมใหญ่. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 26(3), 1777 – 1795.
  • สิริสุดา หนูทิมทอง, ฆริกา คันธา และวิสาขา ภู่จินดา.(2563). การผลิตปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืนตามมาตรฐาน วารสารวิชาการสถาบันอาชีวศึกษาเกษตร, 4(2), 1-14.
  • ภัทราภรณ์ พิศปั้น และฆริกา คันธา. (2563). การบริหารจัดการและดำเนินโครงการประกวดอุทยานแห่งชาติสีเขียวด้านขยะมูลฝอยของอุทยานแห่งชาติภูเรือ จังหวัดเลย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์, 15(2), 113-126.
  • ศศมน มันทะเล และ ฆริกา คันธา. (2563). การหาเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับการคัดเลือกสถานที่สำหรับสร้างสถานีขนถ่ายมูลฝอยย่อย โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ลำดับชั้น. วารสารพัฒนาสังคม, 22(2), 162 – 177.
  • Singkran, N., Anantawong, P., Intharawichian, N. & Kunta, K. (2019). The Chao Phraya River Basin: water quality and anthropogenic influences. Journal of Water Supply, 19(5), 1287 – 1294.
  • สุนี ลำสา และฆริกา คันธา. (2561). การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและแนวทางการป้องกันพื้นที่ป่าไม้ในอุทยานแห่งชาติน้ำตกห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(2), 165-189.
  • ฆริกา คันธา และ ณพงศ์ นพเกตุ. (2561) การบริหารจัดการขยะชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับชุมชนในอำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 6(3), 497-524.
  • Singkran, N., Tosang, J., Waijaroen, D., Intharawichian, N., Vannarart, O., Anantawong, P., Kunta, K., Wisetsopa, P., Tipvong, T., Janjirawuttikul, N., Masthawee, F., Amornpatanawat, S. & Kirtsaeng, S. (2015). Influences of land use and climate changes on hydrologic system in the northeastern river basin of Thailand. Journal of Water and Climate Change, 6 (2): 325–340.

ติดต่อ

  •  โทรศัพท์: 66-2-727-3220
  •  โทรสาร: 66-2-374-428
  •   อีเมล์: care_045@yahoo.com