ทฤษฎีเกม

ทฤษฎีเกม
Game Theory to Explain Problems of the Environment and Natural Resources

 

ทฤษฎีเกมเพื่ออธิบายปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
Game Theory to Explain Problems of the Environment and Natural Resources
เรียบเรียงโดย สมพจน์ กรรณนุช
คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
พ.ศ. 2561

 

ทฤษฎีเกม   ดาวน์โหลด
               Albert Tucker เรียกชื่อ ทฤษฎีเกมแบบหนึ่งว่า Prisoners’ dilemma (Poundstone 1992) ซึ่งใช้อธิบายความล้มเหลวของส่วนรวมทำให้เกิดความเสียหายสาธารณะ ต่อมา John Nash แสดงวิธีคำนวณความเสียหายที่เกิดจากกับดัก Prisoners’ dilemma เรียกว่า Nash equilibrium (Nash 1950; Nash 1951; Nasar 1998; Mehlmann 2000)

 

 

บรรณานุกรม 

Hardin, G. 1968. “The Tragedy of the Commons”. Science 162 (3859): 1243–1248.

Mehlmann, A. 2000. The Game’s Afoot! Game Theory in Myth and Paradox. American Mathematical Society.

Nasar, Sylvia 1998. A Beautiful Mind. Simon & Schuster.

Nash, John 1950. “Equilibrium points in n-person games.” Proceedings of the National Academy of Sciences 36(1):48-49.

Nash, John 1951. “Non-Cooperative Games.” The Annals of Mathematics 54(2):286-295.

Poundstone, W. 1992. Prisoner’s Dilemma. Doubleday. NY.