ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะพลาสติก ต้นทางในยุคชีวิตวิถีใหม่ ในเขตเทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
การศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะพลาสติกต้น ทางในยุคชีวิตวิถีใหม่ ในเขตเทศบาลเมืองท่าใหม ่ อำเภอท ่าใหม ่ จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในยุคชีวิตวิถีใหม่ของคนในชุมชน เทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในยุคชีวิตวิถีใหม่ของคนในชุมชนเทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี3) เพื่อเสนอแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในยุคชีวิตวิถีใหม่ ของคนในชุมชน เทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรีกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในเขตเทศบาลเมืองท่าใหม่ จำนวน 386 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที ่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี ่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่า t-test ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) สำหรับผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 46-55 ปี อาชีพ ทำนา/ทำไร่/ทำสวน (เกษตรกรรม) มีการศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส.หรือเทียบเท่า ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน 6-9 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 – 19,999 บาท สภาพพื้นที่อยู่อาศัย เป็นบ้านอยู่ในซอยที่รถเก็บขยะเข้าออกได้และช่องทางหลักในการรับรู้ข้อมูลด้านการจัดการขยะจากเทศบาลคือ ป้ายประชาสัมพันธ์/ใบปลิว/แผ่นพับ องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย ประชาชนมีความรู้มากที่สุด คือ กล่องโฟม สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ รองลงมาคือ กระดาษลัง ขวดพลาสติก เศษเหล็ก สามารถนำมารีไซเคิลได้(การนำกลับมาใช้ใหม่) และภายใต้สถานการณ์โควิด – 19 ทำให้เกิดขยะพลาสติกในประเทศเพิ่มมากขึ้น ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยด้านแรงจูงใจส่วนบุคคลของประชาชน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และปัจจัยด้านการติดต่อสื่อสารของประชาชน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในยุคชีวิตวิถีใหม่ ในเขตเทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรีมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2) ด้านข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลพบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในชุมชน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และสภาพพื้นที่อยู่อาศัยไม่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในเขตเทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัด (4)จันทบุรีไม่แตกต่างกัน ส่วนอาชีพส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในเขตเทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) ปัจจัยด้านแรงจูงใจส่วนบุคคลของประชาชนและปัจจัยด้านการติดต่อสื่อสารของประชาชนส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในเขตเทศบาลเมืองท่าใหม่ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ข้อเสนอแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางในยุคชีวิตวิถีใหม่มีดังนี้ 1) เทศบาลควรให้กระตุ้นให้ประชาชนแต่ละอาชีพเจ้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะพลาสติกต้นทางโดยชี้ให้เห็นถึงการนำกลับมาใช้ใหม่ หรือทำรีไซเคิล และควรแยกขยะก่อนทิ้ง เพื่อลดปริมาณขยะพลาสติกต้นทางลง 2) เทศบาลควรมีการประชาสัมพันธ์เพื ่อให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการจัดการขยะพลาสติกอย่างถูกวิธี 3) เทศบาลควรกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดพลาสติกที ่มีปริมาณมากขึ้น รู้วิธีการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี และมีส ่วนร่วมดูแลความปลอดภัยในเรื่องความสะอาดและสุขภาพทั้งในครัวเรือน และชุมชน เทศบาลต้องให้ความรู้และรณรงค์ให้ประชาชนเข้ามามีร่วมกันกำจัดขนะพลาสติกต้นทางเพื่อให้สอดคล้องกับชีวิตวิถีใหม
The study on factors affecting people's participation in plastic waste management in the new normal in the Municipality of Tha Mai, Tha Mai District, Chanthaburi Province aim to 1) to study the participation of the people in the management of plastic waste at the source in the new Normal of the people in the community Tha Mai Municipality, Tha Mai District, Chanthaburi Province; 2) to study the factors affecting people's participation in the management of source plastic waste in the New Normal of people in the community of Tha Mai Municipality, Tha Mai District, Chanthaburi Province and 3) to propose guidelines for Build public participation in the management of plastic waste at the source in the New Normal of people in the community, Tha Mai Municipality, Tha Mai District, Chanthaburi Province. The sample consisted of 386 peoples in Tha Mai Municipality. The instrument used for data collection was a questionnaire. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA, and Multiple Regression Analysis. Most of the respondents were female, aged between 46-55 years, Occupation: farming/farming/gardening (agriculture) had an associate's degree/vocational certificate or equivalent. Length of stay in the community 6-9 years, Average monthly income 10,000 –19,999 baht, Condition of living area It's a house in an alley where garbage trucks can go in and out. and the main channel for acknowledging information on waste management from municipalities is Promotional banners/ flyers/ pamphlets Knowledge of solid waste management The most knowledgeable people were that foam boxes are biodegradable, followed by cardboard, plastic bottles, and scrap that can be recycled and under the COVID-19 situation, causing more plastic waste in the country, respectively. The result of research found that 1) The factors of personal motivation of the people was at a high level, and communication factors of the people It was at the middle level, and public participation in the management of source plastic waste in New Normal in the municipality of Tha Mai, Tha Mai District, Chanthaburi Province was at a high level. Occupation affected participation in the management of source plastic waste in Tha Mai Municipality, Tha Mai District, Chanthaburi Province. In additionthe people's personal motivation factor and the people's communication factor affecting participation in the management of source plastic waste in Tha Mai Municipality, Tha Mai District, Chanthaburi Province. Suggestions for ways to create public participation in the management of source plastic waste in the new normal were as follows: 1 ) Municipalities should encourage people in each occupation to participate in the management of source plastic waste by pointing out reuse or recycle and should separate the waste before discarding to reduce the amount of plastic waste at source; 2) The municipality should have public relations to educate people on the correct management of plastic waste; 3) The municipality should encourage people to participate in the disposal of more plastic know how to properly dispose of waste and take part in taking care of safety cleanliness and health in both the household and the community. The municipality must educate and campaign for people to come together to remove the plastic at the source in order to be in line with the New Normal.